ทานตะวัน
ทานตะวัน | |
---|---|
![]() | |
ดอกทานตะวันสีเหลืองสว่าง | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
Kingdom: | Plantae |
Division: | Magnoliophyta |
Class: | Magnoliopsida |
Order: | Asterales |
Family: | Asteraceae |
Tribe: | Heliantheae |
Genus: | Helianthus |
Species: | H. annuus |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | |
Helianthus annuus L. |
ทานตะวัน เป็นพืชท้องถิ่นของอเมริกากลาง มีหลักฐานแสดงให้เห็นว่ามีการปลูกดอกทานตะวันในประเทศเม็กซิโกตั้งแต่ประมาณ 2600 ปีก่อนคริสตกาล[1]
ตำนานดอกทานตะวัน
ในเทพนิยายกรีกมีนางไม้ชื่อ Clytie ที่หลงรักเทพอพอลโล ซึ่งเป็นเทพแห่งดวงอาทิตย์ ได้เฝ้ามองอพอลโลทุกวันจนผมสีทองของเธอกลายเป็นกลีบดอกสีเหลืองและใบหน้ากลายเป็นดอกทานตะวัน ชื่อ Helianthus มาจากคำว่า helios ที่แปลว่าดวงอาทิตย์ กับคำว่า anthos ที่แปลว่า ดอกไม้การเข้ามาของดอกทานตะวันในประเทศไทย
ดอกทานตะวันเข้ามาในประเทศในในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยชาวเกาหลีนำมาปลูกลักษณะนิสัยของคนที่ชอบดอกทานตะวันที่สุด
เป็นคนเชื่อมั่นในตัวเองมาก และถือดีในความรู้ความสามารถของตนไม่น้อย ชอบพึ่งพาตัวเองมากกว่าคนอื่น เป็นคนตั้งเป้าหมายในชีวิตสูงการใช้ประโยชน์
ทานตะวันเป็นพืชให้น้ำมันโดยสกัดจากเมล็ด น้ำมันดอกทานตะวันมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูงสามารถนำไปใช้ในการฟอกหนังและประกอบอาหารทานตะวันเป็นพืชที่มีบทบาทมากในการฟื้นฟูดิน ตัวอย่างเช่น ทานตะวันสะสมตะกั่วได้ 0.86 mg/kg เมื่อเลี้ยงแบบไฮโดรโพนิกส์[2] และส่งเสริมการย่อยสลายคาร์โบฟูรานได้ 46.71 mg/kg [3][4]
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น